เงินเข้าบัญชี ไม่ทราบที่มา หากมีเงินโอนเข้ามาผิดบัญชี ควรทำอย่างไร จะใช้หรือไม่ใช้ดี ? อยู่ดีๆ มีเงินโอนเข้าบัญชี ทำหลายคนสงสัย พาไขคำตอบทั้งหมด โดย ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทยข่าวธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ออกมาเปิดเผยชุดข้อมูลซึ่งประโยชน์ต่อวิถีชีวิตสังคมในปัจุบบัน เรื่องการทำธุรกรรมการเงินทางอิเลกทรอนิกส์ โดยเฉพาะ “การโอนเงิน” ซึ่งกรณีนี้ได้อธิบายถึง อันตรายจากการที่ อยู่ดีๆ มีเงินโอนเข้าบัญชีของท่าน โดยไม่รู้ตัว ไม่ทราบที่มา ซึ่งเพื่อไม่ให้เป็นข้อสงสัยที่ค้างคา วันนี้ทางเพจจึงได้สรุป วิธีการรับมือ เมื่อมีเงินโอนเช้บัญชีของเราโดยไม่ทราสาเหตุ
ขั้นตอนที่ห้ามทำเด็ดขาด เมื่ออยู่ดีๆ มีเงินโอนเข้าบัญชี
ไม่นำเงินไปใช้ เพราะถ้าหากเราไม่คืน เจ้าของเงินสามารถแจ้งความดำเนินคดีได้
ห้ามโอนเงินคืนด้วยตัวเองทันที เพราะอาจตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพ เงินจำนวนดังกล่าวอาจเป็นเงินที่ได้มาจากการกระทำความผิด หากโอนเงินกลับไปให้ ก็อาจเข้าข่ายผู้กระทำความผิดตามไปด้วย
โอนเงินผิดบัญชี ต้องทำอย่างไร ?
ติดต่อธนาคาร เพื่อทำการตรวจสอบ ถ้าเป็นการโอนเงินผิดบัญชีจริง ทางธนาคารจะเป็นผู้ดำเนินการโอนคืนกลับไปยังบัญชีต้นทาง ตามจำนวนเงินที่โอนมาผิด
ทั้งนี้ หากพบว่าเป็นพฤติกรรมของกลุ่มมิจฉาชีพ ให้นำหลักฐานที่เกี่ยวข้องเข้าแจ้งความกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจว่าท่านไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเงินจำนวนดังกล่าว
แนะนำ ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล ‘PA Safety’ จาก เมืองไทย ประกันชีวิต คุ้มครองสูงสุดถึง 2 ล้านบาท ไม่ต้องสำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาล
“อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา” พร้อมรับมือทุกความเสี่ยงที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อกับประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล “PA Safety“ จ่าย 1 ปี คุ้มครอง 1 ปี จาก เมืองไทยประกันชีวิต มอบความคุ้มครองสูงสุด 20,000,000 บาท พร้อมค่ารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุสูงสุด 300,000 บาท ไม่ต้องสำรองจ่าย
ทั้งนี้ผู้ลงทะเบียนทุกคนที่ได้ดำเนินการแก้ไขข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้วให้ผู้ลงทะเบียน “ตรวจสอบสถานะการลงทะเบียน”อีกครั้งในทุกวันศุกร์ของสัปดาห์ถัดไปโดยสามารถตรวจสอบสถานะการลงทะเบียนดังกล่าวได้ด้วยตนเองผ่านทางเว็บไซต์https://บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ.mof.go.th หรือ https://welfare.mof.go.th หรือตรวจสอบผ่านหน่วยงานรับลงทะเบียนทุกหน่วยงาน
ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากผลประกอบการ ทั้งจากราคาหุ้น การลงทุน และการทุ่มเทให้โครงการต่าง ๆ ทำให้เห็นได้ชัดว่า มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ในปัจจุบันได้สูญเสียความมั่งคั่งไปเยอะกว่าตอนต้นปีเกินครึ่ง ทำให้เขากลายเป็นเศรษฐีที่ร่วงตกอันดับมากที่สุดในตอนนี้
เมื่อเข้ารักษาในโรงพยาบาลคู่สัญญา เช็กเงื่นไข และรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่นี่
มาดูกันว่า ประกันสังคม ทุกมาตรา จ่ายเท่าไหร่ เดือน พ.ค. 65
มาดูกันว่า เงินสมทบในแต่ละมาตราของระบบ ประกันสังคม ภายใน เดือน พ.ค. ปี 65 นั้น จะต้อง จ่ายเท่าไหร่ กันบ้าง หลังจากได้ส่วนลดกันไปเป็นเวลา 3 เดือน (6 เดือน สำหรับ ม.40)
ประกันสังคม, เดือน พ.ค. 65, จ่ายเท่าไหร่ – (19 พ.ค. 2565) ภายหลังจากที่ทาง สำนักงานประกันสังคม (สปส. – SSO) ได้ทำการประกาศถึงการลดอัตราเงินสมทบสำหรับผู้ประกันตนภายในระบบ ตามมาตรต่าง ๆ เป็นระยะเวลา 3 (ม.33 – 39) และ 6 (ม.40) กันไปแล้วนั้น ในวันนี้ทาง The Thaiger จะพามาดูกันว่า เราจะต้องจ่ายไปเท่าไหร่หลังได้ส่วนลดไปแล้ว
โดยวงเงินสมทบของระบบ ประกันสังคม ภายใน เดือน พ.ค. ปี 65 ที่ได้รับการลดไปแล้วนั้น ผู้ประกันตนจะต้อง จ่ายเท่าไหร่
– ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 : จ่ายเพียงแค่ 150 บาท/เดือน จากปกติ 750 บาท (3 เดือน)
– ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 : จ่ายเพียงแค่ 91 บาท/เดือน จากปกติ 432 บาท (3 เดือน)
– ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 : ดำเนินการจ่ายตามรูปแบบประกันสังคมที่เลือกดังต่อไปนี้ (6 เดือน)
กรณีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย : 42 บาท/เดือน จากปกติ 70 บาท
กรณีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย และกรณีชราภาพ : 60 บาท/เดือน จากปกติ 100 บาท
กรณีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย ชราภาพ และกรณีสงเคราะห์บุตร : 180 บาท/เดือน จากปกติ 300 บาท
ในกรณีของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ทำการชำระเงินเกินนั้น สามารถดำเนินการยื่นเอกสารขอรับเงินส่วนต่างคืนได้ ผ่านทางไปรษณีย์ โดยทางหน่วยงานจะดำเนินการโอนคืนไปยังบัญชีธนาคารที่ส่งมา (ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารออมสิน)
Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป